ปีที่พิมพ์ : 2553

ISBN : 978-616-7324-43-2

แนวทางการพัฒนานโยบายการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัยเพื่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทยเอกสารการวิจัยตามกรอบแนวนโยบาย ยุทธศาสตร์และเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10(พ.ศ. 2550 – 2554) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มาตรฐานการศึกษาของชาติ นโยบายของรัฐบาล และคำนึงถึงบริบทการพัฒนาสังคมของประเทศไทยในกระแสโลกาภิวัฒน์ ทั้งนี้ เพื่อนำไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดการศึกษาและจัดการเรียนรู้องค์ความรู้ที่ได้ครั้งนี้

คำนำ
กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บทนำ
  1. สภาพปัญหาโอกาสได้รับการเรียนรู้ของประชาชน
  2. หลักการจัดการเรียนรู้ให้แก่ประชาชน
  3. ประเภทการเรียนรู้
  4. คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
  5. ลักษณะการจัดการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
บทที่ 2 องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง
  1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
    1. การพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
    2. ประเด็นความพึงพอใจของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพีย
  2. ภูมิปัญญาไทย
    1. ประเภทของภูมิปัญญาไทย
    2. ลักษณะของภูมิปัญญาไทย
    3. กระบวนการเกิดภูมิปัญญาไทย
  3. สังคมแห่งการเรียนรู้
    1. ลักษณะของสังคมแห่งการเรียนรู้
    2. หลักการในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
    3. กระบวนการพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้
    4. สังคมแห่งการเรียนรู้กับการส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต
    5. ลักษณะความแตกต่างระหว่างสังคมโรงเรียนกับสังคมแห่งการเรียนรู้
    6. ลักษณะความแตกต่างระหว่างชุมชนทั่วไปกับสังคมแห่งการเรียนรู้
บทที่ 3 แนวทางการพัฒนานโยบายการจัดการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัยเพื่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทย
  1. คุณลักษณะและปัจจัยที่เอื้อต่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
  2. บทบาทและหน้าที่การจัดการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
  3. การจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในภาพรวม
  4. มาตรฐานการจัดการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน และการเรียนรู้ตามอัธยาศัยเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
  5. การขับเคลื่อนการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัยเพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดการศึกษา
บทที่ 4 ร่างนโยบายการจัดการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัยเพื่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไท
  1. หลักการและเหตุผล
  2. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
    1. ตามลักษณะสำคัญ
    2. ตามหลักการพัฒนาที่ใช้ผสมผสานในการปฏิบัติงาน
    3. ปัจจัยตามหลักการพัฒนาที่ใช้ผสมผสานในการปฏิบัติงาน
    4. ตามผลงานที่ได้ปฏิบัติงานในประเด็นสำคัญ
  3. กระบวนการในการจัดทำนโยบาย
  4. สาระสำคัญของนโยบาย
    1. ความหมายคำศัพท์
    2. วิสัยทัศน์
    3. วัตถุประสงค์ของการจัดทำนโยบาย
    4. เงื่อนไขที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ
บทที่ 5. ร่างนโยบายการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน และการเรียนรู้ตามอัธยาศัยเพื่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทย

นโยบายที่ 1 : ส่งเสริมการจัดตั้งสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัยเพื่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทย

แผนงานที่ 1 : สร้างจิตสำนึกให้ทุกภาคส่วนของ สังคม ตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนรู้นอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัยเพื่อการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทย

แผนงานที่ 2 : สำรวจและส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้ในท้องถิ่นให้มีศักยภาพเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทย

แผนงานที่ 3 : ระดมทรัพยากรเพื่อการจัดตั้งสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทย

นโยบายที่ 2 : การส่งเสริมการดำเนินงานของสังคม แห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทย

แผนงานที่ 1 : การส่งเสริมการดำเนินงานของสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทยในรูปแบบที่หลากหลาย แผนงานที่ 2 : การบริหารจัดการสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาไทยตามหลักธรรมาภิบาล

บรรณานุกรม
ภาคผนวก
คณะทำงานจัดทำ

 

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด