ปีที่พิมพ์ : 2551

ISBN :

รายงานฉบับนี้เป็นการนำเสนอผลการวิเคราะห์โอกาสการได้รับการศึกษาในอีกแง่มุมหนึ่งที่เรียกว่า โอกาสการได้รับการศึกษาจริง หรือโอกาสการได้รับการศึกษาของประชากรในกลุ่มอายุต่าง ๆ โดยจำแนกเป็นรายจังหวัดและเขตพื้นที่การศึกษา

ความเป็นมา

วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์

ขอบเขตของการวิเคราะห์

ข้อจำกัดของการวิเคราะห์

นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิเคราะห์

วิธีดำเนินการ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 1 สภาพของข้อมูลจากฐานข้อมูลที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์

ตอนที่ 2 อัตราการได้รับการศึกษาจริงของประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ

2.1 โอกาสการได้รับการศึกษาจริงของประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี
2.2 โอกาสการได้รับการศึกษาจริงของประชากรกลุ่มอายุ 6-11 ปี
2.3 โอกาสการได้รับการศึกษาจริงของประชากรกลุ่มอายุ 12-14 ปี
2.4 โอกาสการได้รับการศึกษาจริงของประชากรกลุ่มอายุ 15-17 ปี
2.5 โอกาสการได้รับการศึกษาจริงของประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี
2.6 โอกาสการได้รับการศึกษาจริงของประชากรกลุ่มอายุ 12-17 ปี
2.7 โอกาสการได้รับการศึกษาจริงของประชากรกลุ่มอายุ 6-17 ปี

ตอนที่ 3 โอกาสการได้รับการศึกษาสุทธิของคนไทยวัยเรียนระดับการศึกษาต่าง ๆ

3.1 โอกาสการได้รับการศึกษาสุทธิระดับก่อนประถมศึกษา
3.2 โอกาสการได้รับการศึกษาสุทธิระดับประถมศึกษา
3.3 โอกาสการได้รับการศึกษาสุทธิระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
3.4 โอกาสการได้รับการศึกษาสุทธิระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
3.5 โอกาสการได้รับการศึกษาสุทธิระดับการศึกษาภาคบังคับ
3.6 โอกาสการได้รับการศึกษาสุทธิระดับมัธยมศึกษา
3.7 โอกาสการได้รับการศึกษาสุทธิระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี

ตอนที่ 4 อัตราการเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย

4.1 อัตราการเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ป.6 ต่อ ม.1)
4.2 อัตราการเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.3 ต่อ ม.4 /ปวช.ปีที่1)

สรุปผลการวิเคราะห์

อภิปรายผลการวิเคราะห์

ข้อเสนอแนะ

ภาคผนวก

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด