ปีที่พิมพ์ : 2550

ISBN :

เอกสารฉบับนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาต้นทุนผลิตต่อหน่วยในการศึกษาของสถาบัน อาชีวศึกษาเอกชน ต้นทุนในที่นี้คือค่าเฉลี่ยในการจัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียน/นักศึกษา 1 คน ที่เรียนเต็มเวลา ค่าเฉลี่ยจะไม่คำนวณเป็นรายสถาบันการศึกษาแต่จะคำนวณค่าเฉลี่ยของกลุ่มสถาบัน แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก การวิจัยจะแยกต้นทุนเป็นรายกลุ่มระดับการศึกษา และสาขาวิชาด้วย

 

กิตติกรรมประกาศ

 

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

 

สารบัญ

 

 

สารบัญตาราง

สารบัญภาพ

บทที่ 1 บทนำ

  • หลักการ เหตุผลและภูมิหลัง

  • วัตถุประสงค์

  • ขอบข่ายการวิจัยและระเบียบวิธีการวิจัย

  • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย

  • แหล่งข้อมูล

  • นิยามศัพท์

 

บทที่ 2 วิธีดำเนินงานวิจัย และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

 

  • วิธีดำเนินงานวิจัย

  • ข้อจำกัดและปัญหาการวิจัย

  • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

 

บทที่ 3 สถานการณ์ และแนวโน้มอาชีวศึกษาเอกชน

 

  • สถานการณ์ และแนวโน้มอาชีวศึกษาเอกชน

  • ภาพรวมสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2547

  • สถานการณ์ทั่วไปของสถาบันการศึกษากลุ่มตัวอย่าง

    • จำนวนนักเรียน / นักศึกษา และครู / อาจารย์
    • สาขาวิชาที่นักเรียน / นักศึกษาเลือกเรียน
    • สถานภาพ และวุฒิการศึกษาครู / อาจารย์
    • จำนวนผู้เรียนระยะ 3 ปีที่ผ่านมา และอนาคต 3 ปีข้างหน้า

 

บทที่ 4 ผลการวิจัยทั่วไป

 

  • ข้อมูลทั่วไปของสถาบัน

    • ระยะเวลาดำเนินการของสถาบันการศึกษา
    • ระยะเวลาการดำเนินงาน และแหล่งทุน
    • การดำเนินกิจการของสถาบันภายใต้การแข่งขันสูง
    • การดำเนินกิจการของสถาบันกับปัญหาที่ซับซ้อนและแตกต่าง
    • ค่าเล่าเรียนที่แตกต่างกันตามระดับการศึกษาและสาขาวิชา
    • รายได้เฉลี่ยของสถาบันการศึกษา
    • รายจ่ายเฉลี่ยของสถาบันการศึกษา
    • เงินเดือนและค่าตอบแทน
    • ค่าเสื่อมราคารายจ่ายที่ทำให้กำไรลด
  • ข้อคิดเห็นผู้บริหารสถาบันการศึกษา

    • การบริหารจัดการ และการประสานงาน
    • บทบาทของรัฐในการสนับสนุนการอาชีวศึกษาเอกชน

 

บทที่ 5 ผลการวิจัยต้นทุนการผลิตอาชีวศึกษาเอกชน

 

  • ต้นทุนผลิตอาชีวศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2547

  • ค่าใช้จ่ายการเรียนการสอนเฉลี่ยต่อหัวนักเรียน / นักศึกษา

 

บทที่ 6 สรุปผล อภิปราย และเสนอแนะ

 

ธุรกิจสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน

  • ผลประกอบการของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชนที่สำรวจ

    • ความเห็นของผู้ประกอบการ
    • การคุ้มการลงทุนของธุรกิจอาชีวศึกษา
    • บทบาทที่อาชีวศึกษาเอกชนมีต่อรัฐ
  • ค่าเล่าเรียน : แหล่งรายได้ของสถาบัน

  • ประเด็นการพิจารณาปรับเพดานค่าเล่าเรียน

  • ผลกระทบจากเงินกู้ กรอ . : เพดานเงินกู้

    • การพัฒนาอาชีวศึกษาเอกชน
  • ต้นทุนการผลิตต่อหัว

    • ตัวแปรสำคัญที่มีผลต่อต้นทุน
  • การวิเคราะห์เพื่อจำแนกต้นทุนผลิตเป็นรายระดับและรายสาขาวิชา

    • วิธีการวิเคราะห์ในสถาบันแห่งที่หนึ่ง
    • วิธีการวิเคราะห์ในสถาบันแห่งที่สอง

 

บรรณานุกรม

 

 

ภาคผนวก

 

  • สรุปผลการสัมมนาเสนอผลการศึกษาวิจัย

  • สถาบันศึกษาตัวอย่าง

    • โรงเรียนเทคโนโลยียานยนต์โตโยต้า
    • โรงเรียนปัญญาภิวัฒน์เทคโนธุรกิจ
  • ตารางประกอบการวิเคราะห์

    • สารบัญตารางภาคผนวก
    • ตารางข้อมูล
  • ข้อคิดเห็นและแนวคิดของผู้บริหารสถาบัน

  • คำชี้แจงเกี่ยวกับแบบสอบถาม และแบบสอบถาม

 

สารบัญตาราง

 

ตารางที่ 1

จังหวัดที่อยู่ในขอบเขตการวิจัยสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน

 

ตารางที่ 2

สถาบันตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถาม

 

ตารางที่ 3

ค่าใช้จ่ายรายหัวนักเรียนระดับ ปวช . ปีการศึกษา 2539 - 2541

 

ตารางที่ 4

ค่าใช้จ่ายดำเนินการเฉลี่ยต่อหัว จำแนกตามสาขาวิชา และขนาด

 

ตารางที่ 5

ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาเฉลี่ยต่อหัว จำแนกตามประเภทวิชา และ ค่าใช้จ่าย

 

ตารางที่ 6

ค่าใช้จ่ายรายหัว จำแนกรายภาค

 

ตารางที่ 7

จำนวนนักเรียน / นักศึกษาภาครัฐ และเอกชน อัตราการเพิ่ม จำแนกระดับการศึกษา ปีการศึกษา 2536 - 2547

 

ตารางที่ 8

สัดส่วนนักเรียน / นักศึกษาสถาบันอาชีวศึกษาของรัฐกับเอกชน จำแนกระดับการศึกษา ปีการศึกษา 2536 - 2547

 

ตารางที่ 9

จำนวนนักเรียน / นักศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน จำแนกระดับการศึกษา และสาขาวิชา ปีการศึกษา 2540


Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด