ปีที่พิมพ์ : 2546

ISBN :

รูปแบบการจัดสรรเงินโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เพื่อให้เกิดความเสมอภาคและประสิทธิภาพ กรณีศึกษาจากประเทศออสเตรเลีย มลรัฐวิคตอเรีย ประเทศออสเตรเลีย เป็นตัวอย่างของการปฏิรูปการเงินที่ดำเนินการอย่างได้ผลและเป็นรูปธรรม การนำวิธีการจัดสรรงบประมาณโดยรวมของโรงเรียนมาใช้ (School Global Budget) เพื่อให้โรงเรียนมีความยืดหยุ่นในการบริหารเงินและบุคลากรเพื่อสนองตอบความต้องการของผู้เรียนซึ่งเป็นไปตาม รูปแบบการบริหารจัดการที่อาศัยโรงเรียนเป็นฐาน

    คำนำ 
       
บทสรุปผู้บริหาร
       รูปแบบการจัดสรรเงินโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อให้เกิดความเสมอภาคและประสิทธิภาพ :       
             กรณีศึกษาจากประเทศออสเตรเลีย 
        ความเป็นมาของการจัดสรรเงินโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 
        บริบทของประเทศออสเตรเลีย 
        หลักการของระบบงบประมาณโดยรวมของโรงเรียนในรัฐวิคตอเรีย 
        โครงสร้างระบบงบประมาณโดยรวมของโรงเรียน
                   1. ค่าใช้จ่ายหลัก
                   2. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับอาคาร
                   3. ค่าใช้จ่ายสำหรับนักเรียนที่ขาดโอกาส
                       3.1 นักเรียนที่พิการหรือทุพลภาพ
                       3.2 นักเรียนที่มีความต้องการเป็นพิเศษทางการศึกษา
                       3.3 นักเรียนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง
                       3.4 เด็กในชนบทห่างไกล
                       3.5 โครงการที่มีความสำคัญ
        อภิปราย 

สารบัญตาราง

       ตาราง 1   ค่าใช้จ่ายทางการศึกษา (ระดับประถมและมัธยมศึกษา) ต่อ GDP 
                    จำแนกตามแหล่งที่มาของทุน 
           ตาราง 2    ค่าใช้จ่ายต่อหัวในโรงเรียนรัฐ จำแนกตามระดับการศึกษา รัฐและเขตปกครองตนเอง 
                                 ปีงบประมาณ 2536-2537 
       ตาราง 3   โครงสร้างงบประมาณโดยรวมของโรงเรียน มลรัฐวิคตอเรีย ปีงบประมาณ 2538-2539 
       ตาราง 4   การจัดสรรค่าใช้จ่ายจำแนกตามระดับของความพิการ สำหรับนักเรียนที่พิการและ
                                 ทุพลภาพ ปี 2539 
สารบัญแผนภูมิ
 

       แผนภูมิที่ 1  การให้ค่าถ่วงน้ำหนักสำหรับการคำนวณค่าใช้จ่ายหลักในการจัดสรรงบประมาณ
                                    โดยรวมของโรงเรียน จำแนกรายชั้นเรียน : กรณีโรงเรียนทั่วไป 
          แผนภูมิที่ 2   การปรับค่าเนื่องจากขนาดของโรงเรียน(ชั้นปีที่11และปีที่12)สำหรับการ
                                     คำนวณค่าใช้จ่ายหลัก 
           แผนภูมิที่ 3  การให้ค่าถ่วงน้ำหนักสำหรับการคำนวณค่าใช้จ่ายหลักในการจัดสรรงบประมาณ
                                    โดยรวมของโรงเรียน จำแนกรายกลุ่มอายุ : กรณีโรงเรียนพิเศษ 
           แผนภูมิที่ 4  การให้ค่าถ่วงน้ำหนักสำหรับการเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง       
                                   ในการจัดสรรงบประมาณโดยรวมของโรงเรียน 

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด