ปีที่พิมพ์ : 2546

ISBN :

การศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการจัดระบบงบประมาณและการลงทุนเพื่ออุดมศึกษา ( Financing of Higher Education ) การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเสนอแนวทางและทางเลือกที่จะนำไปสู่การจัดรูปแบบงบประมาณและการเงินของอุดมศึกษาในประเทศไทย เสนอแนะมาตรการระดมทรัพยากรทางการเงินเพื่อพัฒนาความเป็นเลิศของอุดมศึกษาไทย

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

บทที่ 1 บทนำ

1.1 ความเป็นมาและปัญหา
1.2 วัตถุประสงค์
1.3 ขอบเขตการศึกษา
1.4 แหล่งข้อมูลการศึกษาวิจัย
1.5 ข้อจำกัดการศึกษาวิจัย
1.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 2 อุดมศึกษาในกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง

2.1 จุดเริ่มต้นอุดมศึกษาไทย
2.2 การพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อความก้าวหน้า
2.3 การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
2.4 สถานะเมื่อเปรียบเทียบกับนานาชาติ
2.5 ข้อคิดเห็นต่อการเปลี่ยนแปลงในการบริหารจัดการอุดมศึกษา

บทที่ 3 สถานการณ์อุดมศึกษาไทย

3.1 ประเภทสถาบันอุดมศึกษา
3.2 ข้อมูลเบื้องต้นสถาบันการศึกษา ปีการศึกษา 2544
    - ข้อมูลนักศึกษา
    - ข้อมูลอาจารย์
    - งบประมาณและรายรับของสถาบันอุดมศึกษา
3.3 อัตราค่าเล่าเรียน

บทที่ 4 แนวทางการจัดระบบงบประมาณและการลงทุนเพื่ออุดมศึกษา

4.1 การตั้งงบประมาณของสถาบันการศึกษาของรัฐ
4.2 ปัญหาจากการจัดการการเงิน
    - ประเด็นปัญหา
4.3 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับรูปแบบทางการเงินและการบัญชี
    - ประเด็นเสนอ
4.4 เป้าหมายแต่ละกองทุน
4.5 วิธีคำนวณ Block Grant
4.6 ข้อเสนอเกี่ยวกับการตั้งงบประมาณกองทุนทั่วไป
4.7 การจัดสรรงบประมาณและการตั้งงบประมาณเพื่อกองทุนอื่น
4.8 งบประมาณของโครงการ
4.9 วิธีการบริหารงบประมาณของสถาบันการศึกษา
4.10 วิธีบริหารการเก็บรักษาเงิน
4.11 วิธีบริหารการปิดงบดุลของแต่ละกองทุน
4.12 วิธีบริหารขั้นตอนการตั้งงบประมาณกองทุนทั่วไป
4.13 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
4.14 กลยุทธ์ในการเพิ่มอัตราค่าเล่าเรียน
4.15 การเพิ่มรายได้จากโครงการพิเศษ

บทที่ 5 บทบาทอุดมศึกษาเอกชนและแนวทางที่รัฐควรอุดหนุน

5.1 บทบาทของสถาบันการศึกษาเอกชน
5.2 บทบาทของรัฐต่อการกำหนดนโยบายอุดหนุนเอกชน
5.3 แนวทางที่รัฐควรอุดหนุนสถาบันเอกชน

บทที่ 6 แนวทางการบริหารและจัดการเพื่ออุดมศึกษาไทย

6.1 แนวโน้มจำนวนนักศึกษาอุดมศึกษา
6.2 การจัดการเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้น : ทางเลือก
6.3 การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
6.4 เป้าหมายของสถาบันอุดมศึกษา
6.5 สถานะการผลิตบัณฑิตในปัจจุบัน
6.6 การจัดบัณฑิตเป็นหลายๆ ระดับ และหลายๆ เป้าหมาย
6.7 การผลิตผลงานวิชาการ
6.8 การพัฒนาอาจารย์
6.9 การลงทุนเพื่อผลิตอาจารย์ปริญญาเอก
6.10 การพัฒนาคุณภาพอาจารย์ประจำการ
6.11 อาจารย์กิติคุณ
6.12 การพัฒนางานวิจัย
6.13 องค์กรเพื่อการวิจัยภายในสถาบันการศึกษา
6.14 เงินเดือนและผลประโยชน์ตอบแทนของอาจารย์
6.15 เมธีวิจัย
6.16 ทุนการศึกษา

บทที่ 7 ข้อเสนอแนะ

7.1 มาตรการสู่ความเป็นเลิศ
7.2 การจัดการการเงินของรัฐเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัย
7.3 ความเป็นไปได้และทางเลือกอื่น

บทที่ 8 กระบวนทัศน์แห่งการเปลี่ยนแปลง บรรณานุกรม ภาคผนวก

1. หลักการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
2. ประสบการณ์การจัดสรรงบประมาณเพื่ออุดมศึกษาของต่างประเทศ
3. ทางโน้มของอุดมศึกษา การสูญเปล่า และการว่างงานของบัณฑิต


สารบัญตาราง
บทที่ 3
ตารางที่ 1 วุฒิการศึกษาสูงสุดของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา
ตารางที่ 2 สถิตินักศึกษา อาจารย์ และการเงิน ในระดับอุดมศึกษา (ปีการศึกษา 2544)
ตารางที่ 3 อัตราค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมการศึกษา ระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในกำกับ
ตารางที่ 4 อัตราค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยเอกชน

บทที่ 5
ตารางที่ 5 จำนวนและสัดส่วนนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

บทที่ 6
ตารางที่ 6 สถิติจำนวนนักศึกษาและอัตราการเพิ่มของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาแต่ละประเภท
ตารางที่ 7 อัตราการคงอยู่จนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 แสดงจำนวนนักเรียนที่คงเรียนอยู่เปรียบเทียบกับนักเรียนแรกเข้าในประถมศึกษาศึกษาปีที่ 1และเปรียบเทียบกับจำนวนนักศึกษาที่เข้าใหม่ในระดับอุดมศึกษา
แสดงเป็นรายรุ่นการศึกษา (Education Cohort)
ตารางที่ 8 จำนวนรายรับของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ตารางที่ 9 ประเภทและร้อยละของอาจารย์ในสถาบันการศึกษา
 

สารบัญแผนภูมิ
 

บทที่ 3

แผนภูมิที่ 1 กราฟแสดงสัดส่วนของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2544 จำแนกตามประเภทของสถาบันอุดมศึกษา
(สถาบันที่เปิดสอนหลักสูตร 2 ปี และ 4 ปี)
แผนภูมิที่ 2 กราฟแสดงสัดส่วนของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2544 จำแนกตามประเภทของสถาบันอุดมศึกษา
(เฉพาะสถาบันที่เปิดสอนหลักสูตร 4 ปี)
แผนภูมิที่ 3 กราฟแสดงค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาต่อปี ปีการศึกษา 2544 จำแนกตามเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ
แผนภูมิที่ 4 กราฟแสดงค่าใช้จ่ายต่อผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2544 จำแนกตามเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ
แผนภูมิที่ 5 กราฟแสดงจำนวนนักศึกษาต่ออาจารย์ ปีการศึกษา 2544 จำแนกตามประเภทของสถาบันอุดมศึกษา
แผนภูมิที่ 6 กราฟแสดงสัดส่วนของอาจารย์ตามวุฒิการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2544 จำแนกตามประเภทของสถาบันการศึกษา
(เฉพาะสถาบันที่เปิดสอนหลักสูตร 4 ปี)
แผนภูมิที่ 7 กระบวนการผลิต

บทที่ 4
แผนภูมิที่ 8 ขั้นตอนการตั้งงบประมาณของกองทุนทั่วไป
อุดมศึกษาแต่ละประเภท


Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด