ปีที่พิมพ์ : 2560

ISBN :

การดำเนินการให้บรรลุตามเจตนารมณ์และแนวทางการจัดการศึกษา จำเป็นต้องมีการทบทวนรูปแบบการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาที่พัฒนามาจากแนวคิด “การเงินด้านอุปสงค์” ที่เน้นและให้ความสำคัญต่อผู้รับบริการทางการศึกษา (อาทิ ผู้เรียน ผู้ปกครอง และผู้ประกอบการในภาคการผลิต) สำนักงานเลขาธิการศึกษา จึงได้ดำเนินโครงการศึกษาวิจัยเรื่อง “การจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาผ่านตัวผู้เรียน” โดยได้ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ รูปแบบและวิธีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาของประเทศไทยและต่างประเทศ ทั้งที่เป็นการสนองทุนผ่านด้านอุปสงค์ (Demand-Side Financing) และอุปทาน (Supply-Side Financing) และจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายแนวทางการพัฒนาระบบการจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาที่สะท้อนความแตกต่างของผู้รับบริการทางการศึกษา ได้มากขึ้น

สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
          1.1 หลักการและเหตุผล
          1.2 วัตถุประสงค์
          1.3 ขอบเขตการศึกษา
          1.4 ขั้นตอนการดำเนินงาน และปฏิทินกิจกรรม
          1.5 องค์ประกอบของรายงาน
 
บทที่ 2 แนวคิดว่าด้วยการเงินด้านอุปสงค์
          2.1 ความหมายของการเงินด้านอุปสงค์
          2.2 การเงินด้านอุปสงค์ สำหรับการจัดการศึกษา
                2.2.1 รูปแบบและลักษณะของการเงินด้านอุปสงค์ แบบเจาะจง
                2.2.2 การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
                2.2.3 การเพิ่มคุณภาพของการจัดการศึกษา
                2.2.4 การเพิ่มทางเลือกสำหรับผู้เรียน
                2.2.5 การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร
          2.3 การเงินก้านอุปสงค์ ด้านสุขภาพ
          2.4 บทสรุป 
 
บทที่ 3 คูปองการศึกษา (Educational Vouchers)
          3.1 คูปองเพื่อการศึกษา ประสบการณ์ของต่างประเทศ
                3.1.1 ประเทศชิลี
                3.1.2 ประเทศโคลัมเบีย
                3.1.3 ประเทศสวีเดน
                3.1.4ประเทศสหรัฐอเมริกา
          3.2 ผลต่อผู้เรียน
          3.3 ผลต่อการจัดการศึกษาโดยรวม
                3.3.1 สาเหตุหรือปัจจุยที่ทำให้คุณภาพเปลี่ยนแปลง
                3.3.2 ผลสุทธิต่อการจัดการศึกษา
          3.4 บทสรุป
 
บทที่ 4 การอุดหนุนทางการเงินแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfers)
          4.1 ความหมาย และเหตุผลที่เลือกใช้เครื่องมือ
          4.2 การออกแบบวิธีการอุดหนุนแบบมีเงื่อนไข และวิธีดำเนินการ
          4.3 ผลของการอุดหนุนแบบมีเงื่อนไขด้านการศึกษา
                4.3.1 ผลต่ออัตราการเข้าเรียน และการมาเรียน
                4.3.2 ผลลัพธ์ที่เกิดกับเด็กนักเรียน (Outcomes in Education)
 
บทที่ 5 เงินอุดหนุนแบบรายหัวแก่สถานศึกษา (Per Capitation School Grants)
          5.1 ความหมาย และแนวคิดของการจัดสรรงบประมาณการศึกษาแบบรายหัว
          5.2 หลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณกาศึกษาแบบรายหัวโดยสูตรจัดสรร
                5.2.1 องค์ประกอบของสูตรจัดสรร
                5.2.2 การกำกับติดตาม
                5.2.3 การประเมินผล
          5.3 ประสบการณ์ของต่างประเทศ
                5.3.1 สหภาพยุโรป
                5.3.2 สหราชอาณาจักร
                5.3.3 ประเทศเนเธอร์แลนด์
                5.3.4 ประเทศฟินแลนด์
          5.4 สรุปและข้อสังเกต
 
 บทที่ 6 การจัดสรรงบประมาณการศึกาาขั้นพิื้นฐาน สำหรับประเทศไทย
          6.1 การจัดสรรงบประมาณการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย
                6.1.1 ลักษณะการอุดหนุนโรงเรียน ที่มีนักเรียนยากจน
                6.1.2 ลักษณะการอุดหนุนตามขนาดโรงเรียน
                6.1.3 ลักษณะการอุดหนุนเพิ่มเติมในองค์ประกอบด้านความจำเป็นตามสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ สภาพเศรษฐกิจของสถานศึกษา
                6.1.5 งบประมาณแบบรายหัวผู้เรียน ภาตใต้โครงการเรียนฟรี 15 ปี
                6.1.6 การจัดสรรงบประมาณการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านอุปทาน
                6.1.7 การอุดหนุนโรงเรียนเอกชน 
          6.2 ปัญหาของแนวทางการจัดสรรงบประมาณสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสายสามัญ ของประเทศไทย ในรูปแบบค่าใช้จ่ายรายหัว
          6.3 แนวทางการปฏิรูปการจัดสรรงบประมาณผ่านผู้เรียน เพื่อสร้างความเป็นธรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ
 

Download

image

ภารกิจ ผู้บริหาร ดูทั้งหมด

image

ข่าว สกศ. ดูทั้งหมด